มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของยูเนสโก (UNESCO)

มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของยูเนสโก (UNESCO)
ภาพรวม / ประวัติศาสตร์ | มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของยูเนสโก (UNESCO) ภาพรวม / ประวัติศาสตร์ | มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของยูเนสโก (UNESCO)
มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของยูเนสโก (UNESCO)
สมบัติทางวัฒนธรรมพื้นบ้านอันล้ำค่าของชาตเทศกาลคาวาโกเอะฮิคาวะิ
มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่
ได้ของยูเนสโก (UNESCO)
สมบัติทางวัฒนธรรมพื้นบ้านอันล้ำค่าของชาต
เทศกาลคาวาโกเอะฮิคาวะิ

มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้

มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้

การประชุมคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ครั้งที่ 11 ของยูเนสโก (UNESCO) ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2016 ในการประชุมครั้งนั้น “เทศกาลแห่ยามะ (Yama), โฮโคะ (Hoko), ยาไต (Yatai) ในญี่ปุ่น” ได้รับการบันทึกให้อยู่ในรายชื่อ “ตัวแทนมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ” เทศกาลนี้เป็นการแห่ยามะ (Yama), โฮโคะ (Hoko), ยาไต (Yatai) และขอพรจากเทพเจ้าเพื่อประทานความสงบสุขแด่ชุมชน งานเทศกาลแห่ยามะ (Yama), โฮโคะ (Hoko), ยาไต (Yatai)ของญี่ปุ่นนี้ประกอบด้วยงานเทศกาลของ 33 แห่ง และงานเทศกาลคาวาโกเอะฮิคาวะ ก็เป็นหนึ่งใน 33 เทศกาลนั้น เทศกาลทั้ง 33 เทศกาลนี้ได้รับการกำหนดให้เป็นทรัพย์สินทางวัฒนธรรมพื้นบ้านที่จับต้องไม่ได้ที่สำคัญของชาติ

伝達式の様子
伝達式の様子

การประชุมคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ครั้งที่ 11 ของยูเนสโก (UNESCO) ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2016 ในการประชุมครั้งนั้น “เทศกาลแห่ยามะ (Yama), โฮโคะ (Hoko), ยาไต (Yatai) ในญี่ปุ่น” ได้รับการบันทึกให้อยู่ในรายชื่อ “ตัวแทนมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ” เทศกาลนี้เป็นการแห่ยามะ (Yama), โฮโคะ (Hoko), ยาไต (Yatai) และขอพรจากเทพเจ้าเพื่อประทานความสงบสุขแด่ชุมชน งานเทศกาลแห่ยามะ (Yama), โฮโคะ (Hoko), ยาไต (Yatai)ของญี่ปุ่นนี้ประกอบด้วยงานเทศกาลของ 33 แห่ง และงานเทศกาลคาวาโกเอะฮิคาวะ ก็เป็นหนึ่งใน 33 เทศกาลนั้น เทศกาลทั้ง 33 เทศกาลนี้ได้รับการกำหนดให้เป็นทรัพย์สินทางวัฒนธรรมพื้นบ้านที่จับต้องไม่ได้ที่สำคัญของชาติ



ความเป็นมา



ความเป็นมา

ประวัติศาสตร์ของเทศกาลคาวาโกเอะฮิคาวะได้เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ช่วงกลางศตวรรษที่ 17 โดยโนบุสึนะ มัตสึไดระ ผู้เป็นเจ้าแห่งตระกูลคาวาโกเอะในสมัยนั้นได้มีคำสั่งให้ริเริ่มจัดเทศกาลเพื่อเป็นการช่วยส่งเสริมและกระตุ้นเศรษฐกิจในท้องถิ่น โนบุสึนะยังได้บริจาค “มิโคชิ” (เกี้ยวที่ประทับของเทพเจ้า) ให้กับศาลเจ้าฮิคาวะซึ่งตั้งอยู่ใกล้กับปราสาทคาวาโกเอะ และโดยที่คาวาโกเอะตั้งอยู่ใกล้กับเอโดะ (ชื่อเดิมของกรุงโตเกียว) ซึ่งในสมัยนั้นเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมของญี่ปุ่น คาวาโกเอะจึงได้รับเอารูปแบบเทศกาลที่ได้รับความนิยมในเอโดะในสมัยนั้นเข้ามาด้วย คือการแห่มิโคชิรอบเมือง และตามหลังด้วยขบวนแห่รถที่เรียกว่า “ดะชิ” ของชาวเมืองที่เลื่อมใสศรัทธา เทศกาลนี้มีในเดือนตุลาคม







ประวัติศาสตร์ของเทศกาลคาวาโกเอะฮิคาวะได้เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ช่วงกลางศตวรรษที่ 17 โดยโนบุสึนะ มัตสึไดระ ผู้เป็นเจ้าแห่งตระกูลคาวาโกเอะในสมัยนั้นได้มีคำสั่งให้ริเริ่มจัดเทศกาลเพื่อเป็นการช่วยส่งเสริมและกระตุ้นเศรษฐกิจในท้องถิ่น โนบุสึนะยังได้บริจาค “มิโคชิ” (เกี้ยวที่ประทับของเทพเจ้า) ให้กับศาลเจ้าฮิคาวะซึ่งตั้งอยู่ใกล้กับปราสาทคาวาโกเอะ และโดยที่คาวาโกเอะตั้งอยู่ใกล้กับเอโดะ (ชื่อเดิมของกรุงโตเกียว) ซึ่งในสมัยนั้นเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมของญี่ปุ่น คาวาโกเอะจึงได้รับเอารูปแบบเทศกาลที่ได้รับความนิยมในเอโดะในสมัยนั้นเข้ามาด้วย คือการแห่มิโคชิรอบเมือง และตามหลังด้วยขบวนแห่รถที่เรียกว่า “ดะชิ” ของชาวเมืองที่เลื่อมใสศรัทธา เทศกาลนี้มีในเดือนตุลาคม

川越氷川祭、山車行事の歴史
川越氷川祭、山車行事の歴史




รถดะชิ – เทศกาลแห่

รถดะชิ – เทศกาลแห่

“ดะชิ”ของคาวาโกเอะเริ่มมีรูปร่างคล้ายที่เป็นอยู่ในปัจจุบันมาตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่19 ที่ดะชิมีล้อและเคลื่อนที่ได้ด้วยการลากเชือกที่ผูกติดไว้กับรถ ด้วยความสูงที่ปรับระดับได้ของดะชิ ทำให้รถทุกคันสามารถลอดผ่านสิ่งกีดขวางที่อยู่ทางด้านบนเหนือศีรษะได้ บนรถดะชิจะวางตุ๊กตา(หุ่น)ที่ทำตามตำนานโบราณที่เกี่ยวกับเทพเจ้าหรือเรื่องราวของวีรบุรุษ

“ดะชิ”ของคาวาโกเอะเริ่มมีรูปร่างคล้ายที่เป็นอยู่ในปัจจุบันมาตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่19 ที่ดะชิมีล้อและเคลื่อนที่ได้ด้วยการลากเชือกที่ผูกติดไว้กับรถ ด้วยความสูงที่ปรับระดับได้ของดะชิ ทำให้รถทุกคันสามารถลอดผ่านสิ่งกีดขวางที่อยู่ทางด้านบนเหนือศีรษะได้ บนรถดะชิจะวางตุ๊กตา(หุ่น)ที่ทำตามตำนานโบราณที่เกี่ยวกับเทพเจ้าหรือเรื่องราวของวีรบุรุษ

江戸型山車と山車人形
江戸型山車と山車人形
江戸型山車と山車人形





หน่วยงานและประเพณี

祭礼組織と伝統の継承

หน่วยงานและประเพณี

มีการจัดตั้งคณะกรรมการในแต่ละหมู่บ้านเพื่อทำหน้าที่จัดเทศกาล โดยนอกจากการเตรียมงาน และจัดเก็บแล้วยังต้องคิดกำหนดเส้นทางที่จะลากดะชิ และตกแต่งด้วยการแขวน “โค-ฮาขุ มาขุ (Kou-Haku Maku)” (ม่านแถบลายทางแนวตั้งสีแดงสลับขาว) ตลอดเส้นทางที่ขบวนแห่จะเคลื่อนผ่าน แต่ละหมู่บ้านจะมีการกำหนดสถานที่ “ไคโช (Kaisho)” ศูนย์จัดงานเทศกาลของตน และในวันงานชาวบ้านแต่ละหมู่บ้านจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าเหมือนๆ กัน มาร่วมพลังกันลากรถดะชิ หลังจากเสร็จงานเทศกาลแล้วก็นำไปเก็บรักษาไว้ การปฏิบัติตามแนวทางเช่นนี้เป็นการช่วยรักษาประเพณีการจัดเทศกาลให้สืบเนื่องมาตลอดได้





มีการจัดตั้งคณะกรรมการในแต่ละหมู่บ้านเพื่อทำหน้าที่จัดเทศกาล โดยนอกจากการเตรียมงาน และจัดเก็บแล้วยังต้องคิดกำหนดเส้นทางที่จะลากดะชิ และตกแต่งด้วยการแขวน “โค-ฮาขุ มาขุ (Kou-Haku Maku)” (ม่านแถบลายทางแนวตั้งสีแดงสลับขาว) ตลอดเส้นทางที่ขบวนแห่จะเคลื่อนผ่าน แต่ละหมู่บ้านจะมีการกำหนดสถานที่ “ไคโช (Kaisho)” ศูนย์จัดงานเทศกาลของตน และในวันงานชาวบ้านแต่ละหมู่บ้านจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าเหมือนๆ กัน มาร่วมพลังกันลากรถดะชิ หลังจากเสร็จงานเทศกาลแล้วก็นำไปเก็บรักษาไว้ การปฏิบัติตามแนวทางเช่นนี้เป็นการช่วยรักษาประเพณีการจัดเทศกาลให้สืบเนื่องมาตลอดได้

祭礼組織と伝統の継承
祭礼組織と伝統の継承



มัตสึริ-บายาชิ

มัตสึริ-บายาชิ

ใน “ดะชิ”จะมีเวทีเล็กๆ สำหรับการแสดงดนตรีที่บรรเลงด้วยขลุ่ยญี่ปุ่นและกลอง และจะมีคนเต้นที่ใส่หน้ากากเต้นไปตามจังหวะเพลง การแสดงนี้เรียกว่า “มัตสึริ บายาชิ (Matsuri Bayashi)” เมื่อขบวนดะชิแห่มาเจอกัน ต่างก็จะเริ่มแสดงดนตรีและเต้นไปพร้อม ๆ กัน

祭を彩る祭り囃子の調べ
祭を彩る祭り囃子の調べ

ใน “ดะชิ”จะมีเวทีเล็กๆ สำหรับการแสดงดนตรีที่บรรเลงด้วยขลุ่ยญี่ปุ่นและกลอง และจะมีคนเต้นที่ใส่หน้ากากเต้นไปตามจังหวะเพลง การแสดงนี้เรียกว่า “มัตสึริ บายาชิ (Matsuri Bayashi)” เมื่อขบวนดะชิแห่มาเจอกัน ต่างก็จะเริ่มแสดงดนตรีและเต้นไปพร้อม ๆ กัน



เทคนิคของช่างฝีมือ

เทคนิคของช่างฝีมือ

ช่างฝีมือและชาวบ้านจะช่วยกันประกอบและแยกส่วนรถดะชิ นอกจากนั้น ในวันงาน ช่างฝีมือเหล่านี้จะเป็นผู้ควบคุมทุกการเคลื่อนไหวของรถที่ใช้แห่ ไม่ว่าจะเป็นการปีนป่ายขึ้นไปจนถึงด้านบนสุดของรถเพื่อขจัดสิ่งกีดขวางที่อยู่ด้านบนเหนือศีรษะ หรือจะเป็นการจับตาดูล้อของรถเพื่อให้มั่นใจว่ารถจะเลี้ยวได้อย่างปลอดภัยและนุ่มนวล ตอนที่รถดะชิเริ่มเคลื่อนและตอนสุดท้าย ช่างฝีมือเหล่านี้จะขับขานบทเพลงที่ชื่อว่า “คิยาริ”

運行を支える職人の力
運行を支える職人の力

Les artisans procèdent au montage et au démontage du char de festival avec l’aide des citadins. Pendant le festival, ces artisans contrôlent chaque mouvement du char. Ils grimpent jusqu’en haut du char afin de repérer tout obstacle en hauteur et se postent également près des roues pour que le char effectue des virages en douceur et en toute sécurité. Lorsque qu’ils commencent à déplacer le char au début du festival et lorsque le festival prend fin, ces artisans interprètent un chant appelé Kiyari.





ศาลเจ้าคาวาโกเอะฮิคาวะ

川越氷川神社

ศาลเจ้าคาวาโกเอะฮิคาวะ

ศาลเจ้าคาวาโกเอะฮิคาวะถูกเรียกว่า “โอะฮิคาวะซามะ” มาแต่โบราณ เป็นที่เคารพนับถือในฐานะผู้คุ้มครองคาวาโกเอะ

สร้างขึ้นในสมัยของจักรพรรดิคินเม เมื่อประมาณ 1,500 ปีที่แล้ว ว่ากันว่าเริ่มมาจากการที่ผู้ปกครองมุซาชิได้อัญเชิญเทพเจ้าจากศาลเจ้าฮิคาวะที่โอมิยะมาสักการะบูชาที่นี่

ในปี 1457 ยุคมุโรมาจิ โดกัน โอตะ ได้บริจาคบทกวีของตนให้แก่ศาลเจ้าแห่งนี้ในโอกาสการสร้างปราสาทคาวาโกเอะ และใน “บันทึกคาวะโกเอะ” ที่ระบุถึงบรรยากาศการต่อสู่ในปี 1537 ที่เป็นช่วงยุคสงคราม ได้ระบุว่าในสมัยนั้นก็มีผู้คนจำนวนมากไปสักการะบูชาศาลเจ้าแห่งนี้

วิหารหลักหลังปัจจุบันเป็นการสร้างแบบอิริโมยะสึคุริ ซึ่งเริ่มสร้างตั้งแต่ปี 1842 และสร้างเสร็จในปี 1849 งานแกะสลักทำโดย เก็นโซ ชิมามูระ ช่างชื่อดังในสมัยนั้น ซึ่งได้แกะสลักไว้ห้าสิบกว่าแบบ เป็นงานที่ประณีตมาก โดยเฉพาะในส่วนของคลื่นที่ได้รับอิทธิพลจาก ฮิโรชิเกะ ช่างภาพอุคิโยเอะชื่อดัง และการแกะสลักที่เก็บรายละเอียดมาจากรถดะชิที่ใช้ในเทศกาลฮิคาวะ


ทำให้ศาลเจ้าคาวาโกเอะฮิคาวะเป็นการสร้างศาลเจ้าชั้นนำของช่วงครึ่งหลังของยุคเอโดะ และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นทรัพย์สินทางวัฒนธรรมของจังหวัดไซตามะในปี 1956

ในระยะหลังนี้ ได้รับความนิยมจากกลุ่มวัยรุ่นเป็นพิเศษ ในฐานะของจุดที่เชื่อว่ามีพลังศักดิ์สิทธิ์ด้านความรัก และเทพเจ้าแห่งการผูกดวง

ศาลเจ้าคาวาโกเอะฮิคาวะถูกเรียกว่า “โอะฮิคาวะซามะ” มาแต่โบราณ เป็นที่เคารพนับถือในฐานะผู้คุ้มครองคาวาโกเอะ

สร้างขึ้นในสมัยของจักรพรรดิคินเม เมื่อประมาณ 1,500 ปีที่แล้ว ว่ากันว่าเริ่มมาจากการที่ผู้ปกครองมุซาชิได้อัญเชิญเทพเจ้าจากศาลเจ้าฮิคาวะที่โอมิยะมาสักการะบูชาที่นี่

ในปี 1457 ยุคมุโรมาจิ โดกัน โอตะ ได้บริจาคบทกวีของตนให้แก่ศาลเจ้าแห่งนี้ในโอกาสการสร้างปราสาทคาวาโกเอะ และใน “บันทึกคาวะโกเอะ” ที่ระบุถึงบรรยากาศการต่อสู่ในปี 1537 ที่เป็นช่วงยุคสงคราม ได้ระบุว่าในสมัยนั้นก็มีผู้คนจำนวนมากไปสักการะบูชาศาลเจ้าแห่งนี้

วิหารหลักหลังปัจจุบันเป็นการสร้างแบบอิริโมยะสึคุริ ซึ่งเริ่มสร้างตั้งแต่ปี 1842 และสร้างเสร็จในปี 1849 งานแกะสลักทำโดย เก็นโซ ชิมามูระ ช่างชื่อดังในสมัยนั้น ซึ่งได้แกะสลักไว้ห้าสิบกว่าแบบ เป็นงานที่ประณีตมาก โดยเฉพาะในส่วนของคลื่นที่ได้รับอิทธิพลจาก ฮิโรชิเกะ ช่างภาพอุคิโยเอะชื่อดัง และการแกะสลักที่เก็บรายละเอียดมาจากรถดะชิที่ใช้ในเทศกาลฮิคาวะ

ทำให้ศาลเจ้าคาวาโกเอะฮิคาวะเป็นการสร้างศาลเจ้าชั้นนำของช่วงครึ่งหลังของยุคเอโดะ และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นทรัพย์สินทางวัฒนธรรมของจังหวัดไซตามะในปี 1956

ในระยะหลังนี้ ได้รับความนิยมจากกลุ่มวัยรุ่นเป็นพิเศษ ในฐานะของจุดที่เชื่อว่ามีพลังศักดิ์สิทธิ์ด้านความรัก และเทพเจ้าแห่งการผูกดวง

เทศกาลของศาลเจ้าคาวาโกเอะฮิคาวะ

เทศกาลของศาลเจ้าคาวาโกเอะฮิคาวะจะมี “เทศกาลประจำปี” ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 14 ตุลาคมของทุกปีตั้งแต่ก่อตั้งศาลเจ้านี้มา และ “เทศกาลชินโค” ที่จะจัดถัดจากนั้นทันที ซึ่งเป็นเทศกาลที่เกี่ยวกับพระเจ้า

เทศกาลของศาลเจ้าคาวาโกเอะฮิคาวะ

เทศกาลของศาลเจ้าคาวาโกเอะฮิคาวะจะมี “เทศกาลประจำปี” ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 14 ตุลาคมของทุกปีตั้งแต่ก่อตั้งศาลเจ้านี้มา และ “เทศกาลชินโค” ที่จะจัดถัดจากนั้นทันที ซึ่งเป็นเทศกาลที่เกี่ยวกับพระเจ้า

เทศกาลประจำปี

“เทศกาลประจำปี” จะจัดขึ้นที่ศาลเจ้าคาวาโกเอะฮิคาวะในฤดูใบไม้ร่วงทุกปีตั้งแต่ก่อตั้งศาลเจ้ามา เป็นการแสดงความขอบคุณต่อเทพเจ้าฮิคาวะผู้ยิ่งใหญ่ และขอให้ผู้ที่ศรัทธามีสุขภาพแข็งแรง

เทศกาลประจำปี

“เทศกาลประจำปี” จะจัดขึ้นที่ศาลเจ้าคาวาโกเอะฮิคาวะในฤดูใบไม้ร่วงทุกปีตั้งแต่ก่อตั้งศาลเจ้ามา เป็นการแสดงความขอบคุณต่อเทพเจ้าฮิคาวะผู้ยิ่งใหญ่ และขอให้ผู้ที่ศรัทธามีสุขภาพแข็งแรง







เทศกาลชินโค

“เทศกาลชินโค” เป็นการเชิญเทพเจ้าของฮิคาวะไปบนมิโคชิ (เกี้ยวที่ประทับของเทพเจ้า) แล้วแห่ไปเมืองต่าง ๆ รอบปราสาทคาวาโกเอะให้ผู้คนได้รับพลังจากพระเจ้า เป็นพิธีกรรมดั้งเดิมเพื่อขอความสุขและความเจริญรุ่งเรืองมาสู่เมือง และเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของเทศกาลคาวาโกเอะฮิคาวะด้วย จุดที่สำคัญที่สุดที่จะพลาดไม่ได้คือการออกไปต้อนรับพระเจ้าและร่วมขบวนแห่รถดะชิ ซึ่งเป็นการระลึกถึงขบวนแห่ในเทศกาลเอโดะเท็นคะที่ปัจจุบันไม่มีอีกแล้ว และเป็นพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์และเคร่งครัดที่ชวนให้นึกถึงขบวนแห่ในเทศกาลที่ปรากฏใน “ม้วนภาพเทศกาลคาวาโกเอะฮิคาวะ” ที่วาดขึ้นในปี 1826 ด้วย

เทศกาลชินโค

“เทศกาลชินโค” เป็นการเชิญเทพเจ้าของฮิคาวะไปบนมิโคชิ (เกี้ยวที่ประทับของเทพเจ้า) แล้วแห่ไปเมืองต่าง ๆ รอบปราสาทคาวาโกเอะให้ผู้คนได้รับพลังจากพระเจ้า เป็นพิธีกรรมดั้งเดิมเพื่อขอความสุขและความเจริญรุ่งเรืองมาสู่เมือง และเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของเทศกาลคาวาโกเอะฮิคาวะด้วย จุดที่สำคัญที่สุดที่จะพลาดไม่ได้คือการออกไปต้อนรับพระเจ้าและร่วมขบวนแห่รถดะชิ ซึ่งเป็นการระลึกถึงขบวนแห่ในเทศกาลเอโดะเท็นคะที่ปัจจุบันไม่มีอีกแล้ว และเป็นพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์และเคร่งครัดที่ชวนให้นึกถึงขบวนแห่ในเทศกาลที่ปรากฏใน “ม้วนภาพเทศกาลคาวาโกเอะฮิคาวะ” ที่วาดขึ้นในปี 1826 ด้วย

絵巻前半

絵巻前半

絵巻後半

絵巻後半

あなたに夢を。宝くじ街に元気を。クーちゃん